เสริมพัฒนาการของลูกขณะอาบน้ำ

ได้เวลา “ป๋อมแป๋ม” กันแล้ว อีกหนึ่งช่วงเวลาแห่งความสุขของลูกน้อยที่จะได้ลงอ่างอาบน้ำให้สบายตัว ในช่วงเวลาสั้นๆ แบบนี้หากคุณพ่อคุณแม่รู้จักเพิ่มเติมองค์ประกอบบางอย่างลงไป ก็จะช่วยให้ช่วงเวลาอาบน้ำของลูกน้อยเต็มไปด้วยความสุข สนุก สะอาด ช่วยเสริมพัฒนาการของลูกน้อยไปได้พร้อมๆ กัน

เสริมพัฒนาการของลูกขณะอาบน้ำ

ระหว่างที่ลูกน้อยกำลังวุ่นอยู่กับการอาบน้ำ คุณพ่อคุณแม่อาจเสริมด้วยเทคนิคง่ายๆ ที่จะช่วยให้ลูกน้อยมีพัฒนาการที่ดีขึ้น ถึงแม้จะเป็นช่วงเวลาเล็กๆ ก็ตาม ด้วยวิธี 3ส. ดังนี้

ส.ที่ 1 = สุข เด็กกับน้ำเป็นของคู่กัน อยู่แล้ว เวลาที่เด็กได้เล่นอยู่กับน้ำจะทำให้ร่างกายหลั่งสารแห่งความสุขหรือ “สารเอนดอร์ฟีน” ออกมา ซึ่งสารแห่งความสุขนี้จะส่งผลทางด้านบวกต่อการรับรู้และเรียนรู้ ช่วยให้ลูกพร้อมซึมซับประสบการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นตลอดการอาบน้ำซึ่งคุณพ่อคุณแม่สามารถสร้างบรรยากาศในการอาบน้ำ ที่เอื้อต่อการเกิดความสุขได้ดังนี้

  • ปรับอุณหภูมิน้ำให้เหมาะสม ไม่ร้อนเกินไปไม่เย็นเกินไป อุณหภูมิของน้ำที่พอเหมาะจะช่วยให้ลูกน้อยสบายตัวเกิดความสุขตลอดการอาบน้ำ

ส.ที่ 2 = สนุก เมื่อเด็กมีความสุขก็พร้อมที่จะเรียนรู้ และการเรียนรู้ของเด็กก็คือการที่เด็กได้เล่นสนุกนั่นเอง ดังนั้นเพื่อเพิ่มพัฒนาการให้กับลูกน้อยในระหว่างอาบน้ำให้คุณพ่อคุณแม่ เลือกสรรของเล่นลงอ่างอาบน้ำให้เหมาะสมด้วย ซึ่งของเล่นในอ่างอาบน้ำก็มีความแตกต่างกับดังนี้

  • ของเล่นลอยน้ำ คือ ของเล่นทุกอย่างที่ลอยน้ำได้ ไม่ว่าจะเป็นเป็ดยางหรือเรือลอยน้ำ ของเล่นเหล่านี้จะช่วยเสริมพัฒนาการในเรื่องการหยิบจับ ส่วนของเล่นลอยน้ำบางประเภทที่เป็นยางอาจจะบีบให้เกิดเสียงยังจะช่วยใน เรื่องของกล้ามเนื้อมือมัดเล็กและการตอบสนองในการฟังได้อีกด้วย
  • ของเล่นจมน้ำ ได้แก่พวกตุ๊กตุ่นตุ๊กตายางที่มีสีสันต่างๆ ที่ไม่สามารถลอยน้ำได้ จะช่วยในเรื่องการกะระยะ เวลาที่ลูกน้อยต้องเอื้อมมือไปหยิบตุ๊กตุ่นขึ้นมาจากก้นอ่าง
  • นิทานกันน้ำ ปัจจุบันนอกจากเวลานอนแล้ว เวลาอาบน้ำคุณพ่อคุณแม่ก็ยังสามารถเล่านิทานให้ลูกน้อยฟังได้ด้วยนิทานกัน น้ำ ซึ่งลูกน้อยสามารถชี้รูปภาพและหยิบจับได้โดยนิทานไม่เปียก ช่วยส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสมองและจินตนาการในระหว่างอาบน้ำ
  • ของเล่นเสริมพัฒนาการ นอกจากนี้ผู้ผลิตของเล่นยังคิดค้นของเล่นที่สามารถเล่นในอ่างน้ำได้ ซึ่งออกแบบมาให้สามารถช่วยเสริมพัฒนาการหลายๆ ด้านได้ในเวลาเดียวกัน เช่น เรือของเล่นลอยน้ำที่สามารถต่อได้หลายแบบและเทน้ำใส่ลงไปแล้วเรือก็จะแล่น ได้เอง เป็นต้น

ส.ที่ 3 = สะอาด คือความสดชื่นหลังอาบน้ำ การที่ลูกน้อยได้อาบน้ำอย่างสะอาดช่วยให้ลูกน้อยมีความสุขและรักการอาบน้ำ มากยิ่งขึ้น

>>>ขอขอบคุณข้อมูลจาก : แคร์

สินค้าที่เกี่ยวข้อง

คาร์ซีทเด็กโต AILEBEBE รุ่น Papatto Premium

สำหรับเด็กแรกเกิด – 7 ขวบ / 25kg (Group 0+/1/2)

7,700.00
คาร์ซีทเด็กโต AILEBEBE รุ่น Papatto Premium

สำหรับเด็กแรกเกิด – 7 ขวบ / 25kg (Group 0+/1/2)

7,700.00
คาร์ซีทเด็กโต AILEBEBE รุ่น Papatto Premium

สำหรับเด็กแรกเกิด – 7 ขวบ / 25kg (Group 0+/1/2)

7,700.00
คาร์ซีทเด็กโต AILEBEBE รุ่น Papatto Premium

สำหรับเด็กแรกเกิด – 7 ขวบ / 25kg (Group 0+/1/2)

7,700.00
คาร์ซีทเด็กโต AILEBEBE รุ่น Papatto Premium

สำหรับเด็กแรกเกิด – 7 ขวบ / 25kg (Group 0+/1/2)

7,700.00
คาร์ซีทเด็กโต AILEBEBE รุ่น Papatto Premium

สำหรับเด็กแรกเกิด – 7 ขวบ / 25kg (Group 0+/1/2)

7,700.00

บทความแนะนำ

เพราะลูกน้อยคือที่สุดของความรักจากใจแม่ไม่มีอะไรเทียบได้ คุณแม่ทุกท่านจึงต้องเลือกและหาสิ่งที่ดีที่สุดให้ลูกน้อยเสมอ และ “น้ำนมแม่” คือหนึ่งในอาหารที่มีคุณค่ามากที่สุด และดีที่สุดต่อลูกน้อย เป็นอาหารที่ไม่ต้องไปซื้อหาที่ไหน  ด้วยเพราะน้ำนมนั้นกลั่นมาจากอกจากธรรมชาติในร่างกายแม่ที่มุ่งมั่นตั้งใจจะให้ลูกน้อยได้รับคุณค่าสารอาหารเพื่อเสริมสร้างพัฒนาการอย่างครบถ้วน ซึ่งการให้นมแม่ได้ยาวนานที่สุด และเต็มที่ที่สุดแก่ลูกน้อย  นอกจากจะส่งผลดีเยี่ยมต่อพัฒนาการในทุกด้าน สร้างเสริมภูมิต้านทานทำให้ลูกกินนมแม่ไม่ป่วยง่าย ยังช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายได้มากมาย รวมถึงการให้นมแม่ยังดีต่อสุขภาพแม่ในแง่มุมต่างๆ ทั้งการช่วยให้มดลูกเข้าอู่เร็ว มีส่วนช่วยคุมกำเนิดได้ในช่วงหนึ่ง  พร้อมกับทำให้สุขภาพและรูปร่างของคุณแม่กลับคืนมาหุ่นดีได้เร็วและง่ายขึ้นด้วย ดังนั้นเพื่อให้ลูกน้อยได้รับพลังคุณค่าสารอาหารจากน้ำนมนมแม่ให้ยาวนานเต็มที่ คุณแม่ทุกท่านจึงมุ่งมั่นตั้งใจที่จะทำสต๊อกน้ำนมสะสมไว้ให้ลูกมากๆ  และหลายๆ ท่านก็เป็นคุณแม่นักปั๊มได้สำเร็จ มีน้ำนมแม่ให้ลูกเต็มที่ เต็มตู้แช่  แต่ทว่าปัญหาที่คุณแม่กลับต้องพบเจอ คือ ลูกไม่กินนมสต๊อก ที่ทำไว้  จึงมีคำถามมากมายว่าทำไม? ลูกจึงไม่ยอมกิน เพราะเป็นนมแม่เหมือนกัน เราจึงชวนมาดูสาเหตุที่ลูกน้อยไม่ยอมกินนมสต๊อก พร้อมกับวิธีการฝึกลูกน้อยกินนมแม่จากสต๊อกว่าต้องทำอย่างไร เพื่อแก้ปัญหาให้สำเร็จ ให้ลูกน้อยกินนมได้แม่ยาวนาน ได้รับที่สุดของโภชนาการนมแม่นี้อย่างเต็มที่ไปจนโตค่ะ สาเหตุที่ ลูกไม่กินนมสต๊อก วิธีฝึกลูกน้อยกินนมสต๊อก เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาลูกน้อยไม่กินนมสต๊อก คุณแม่จะต้องเตรียมตัวหรือฝึกลูกน้อยให้กินนมแม่สต๊อกจากขวดล่วงหน้า และแก้ปัญหาด้วยวิธีการต่างๆ ดังนี้ เมื่อคุณแม่รู้สาเหตุของการปฏิเสธนมสต๊อกของลูกแล้ว ก็สามารถแก้ไขและฝึกลูกได้ โดยขอเพียงหมั่นฝึกฝนตามวิธีการต่างๆ ที่แนะนำ พร้อมกับใช้ตัวช่วยต่างๆ เช่น เครื่องอุ่นนม จุกนมที่ดี  ร่วมกับการละลายนมสต๊อกที่ถูกต้อง และเทคนิคอื่นๆ โดยที่ไม่ให้ลูกกินนมอื่นๆ เด็ดขาด ก็มั่นใจได้ว่าลูกน้อยจะยอมกินนมแม่ที่สต๊อกไว้ได้ต่อเนื่อง  เติบโตแข็งแรงด้วยพลังคุณค่าจากน้ำนมแม่ยาวนานแน่นอนค่ะ

หลังจากเว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษาได้เผยแพร่ กฎหมายคาร์ซีท เกี่ยวกับเด็กที่อายุไม่เกิน 6 ปี หรือสูงไม่เกิน 135 ซม. ผู้ปกครองต้องจัดหาที่นั่งพิเศษให้สำหรับเด็ก หรือนั่งในที่นั่งพิเศษสำหรับเด็ก (คาร์ซีท) เพื่อป้องกันอันตรายในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุ หากไม่ทำตามกฏหมายก็จะถูกปรับ 2,000 บาท โดยจะมีผลบังคับใช้ในอีก 120 วันข้างหน้า ซึ่งตรงกับวันที่ 5 กันยายน 2565 นี้ เมื่อมี กฎหมายคาร์ซีท ออกมาแล้วคุณพ่อคุณแม่หลายท่านก็ต้องมองหาคาร์ซีทให้ลูกอย่างจริงจังเลยใช่ไหมคะ แล้วคาร์ซีทแบบไหนเหมาะสำหรับลูกเรา แบบไหนปลอดภัยกว่า วันนี้ Baby Gift ได้รวบรวมข้อมูลมาให้กับคุณพ่อคุณแม่ได้เตรียมความพร้อมแล้วค่ะ ไปดูกันเลย หลังจากเว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษาได้เผยแพร่ กฎหมายคาร์ซีท เกี่ยวกับเด็กที่อายุไม่เกิน 6 ปี หรือสูงไม่เกิน 135 ซม. ผู้ปกครองต้องจัดหาที่นั่งพิเศษให้สำหรับเด็ก หรือนั่งในที่นั่งพิเศษสำหรับเด็ก (คาร์ซีท) เพื่อป้องกันอันตรายในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุ หากไม่ทำตามกฏหมายก็จะถูกปรับ 2,000 บาท โดยจะมีผลบังคับใช้ในอีก 120 วันข้างหน้า ซึ่งตรงกับวันที่ 5 กันยายน 2565 […]

คุณแม่อาจป้อนอาหารบดละเอียดให้ลูกเสริมกับการกินนมแม่เป็นหลัก หรือถ้าคุณพ่อคุณแม่คนไหนอยากฝึก BLW ให้ลูกกินข้าวด้วยตัวเองเป็นก็อาจให้ลูกหยิบจับอาหารนิ่ม ๆ กินเองโดยที่ไม่ต้องป้อนซึ่งอาจเป็นอาหารที่ไม่ผ่านการปรุงมาก อย่างเช่น ผักต้มนิ่มๆ ผลไม้นิ่มๆ เนื้อปลาต้มนิ่มๆ และเมื่อลูกย่างเข้าสู่เดือนที่ 8 เป็นต้นไป ลูกก็จะเริ่มกินอาหารได้หลากหลายมากขึ้น คุณพ่อคุณแม่ก็อาจมองหาเมนูอาหารใหม่ๆ ให้กับลูกน้อย ซึ่งในบทความนี้ BabyGift มีเมนูอาหารเด็ก 8 เดือน 5 เมนูอร่อยมาแนะนำกัน จะมีอะไรบ้างนั้น ลองไปดูกันค่ะ  ชวนเข้าครัวเตรียมเมนูอาหารเด็ก 8 เดือนให้ลูกน้อย เด็ก 8 เดือนกินอะไรได้บ้าง ?  พอลูกของเราอายุ 6 เดือนขึ้นไป ก็จะสามารถกินอาหารเสริมนอกเหนือจากนมแม่เพิ่มเติมได้ และถ้าเป็นไปได้ คุณแม่ก็ควรให้นมแม่ควบคู่กับการเพิ่มมื้ออาหารให้ลูก ซึ่งอาหารสำหรับเด็กอ่อนนั้น สามารถใช้วัตถุดิบได้หลากหลาย และเมื่อลูกอายุ 8 เดือนก็จะเริ่มมีฟันน้ำนม สามารถกินอาหารได้อย่างหลากหลายมากขึ้น เนื้อสัมผัสอาหารมีความหยาบได้มากขึ้น รวมถึงกินผลิตภัณฑ์จากนมอย่าง เนย ชีส และโยเกิร์ตได้ สำหรับเมนูอาหารเด็ก 8 เดือนที่เราจะแนะนำกันนั้น สามารถใช้วัตถุดิบอะไรได้บ้าง มาดูกันค่ะ  แนะนำ […]

นมแม่ คืออาหารมหัศจรรย์ของลูกน้อย อุดมด้วยสารอาหารมากกว่า 200 ชนิด ที่ครบถ้วนและเหมาะสมที่สุดสำหรับลูกน้อย ซึ่งคุณค่าสารอาหารในนมแม่ สำคัญที่สุดต่อการช่วยส่งเสริมพัฒนาการลูกทุกด้าน ได้แก่ อุ่นนมแม่ให้ถูก ลูกได้คุณค่าเต็มที่ เมื่อรู้ว่านมแม่มีคุณค่ามหาศาลอย่างนี้แล้ว คุณแม่ต้องให้ลูกน้อยกินนมแม่ให้นานที่สุด  เพื่อให้ลูกได้รับคุณค่าน้ำนมให้มากที่สุด ด้วยการทำสต๊อกนมแม่เก็บไว้ให้ลูก และให้ความสำคัญกับการอุ่นนมแม่ที่แช่แข็งหรือทำสต๊อกไว้มาให้ลูกกินด้วย เพราะหากอุ่นนมแม่ไม่ถูกวิธี อาจทำให้ลูกเจ็บป่วยท้องเสีย แถมยังสูญเสียสารอาหารที่มีคุณค่าในนมแม่ไป   เราจึงขอแนะนำวิธีการอุ่นนมที่ถูกต้อง เพื่อให้ลูกน้อยได้รับสารอาหารที่ดีที่สุดมาฝากกันค่ะ วิธี อุ่นนมแม่ จากช่องแช่แข็ง ปัจจุบันมีเครื่องอุ่นนม ที่ช่วยอำนวยความสะดวกคุณแม่ในการละลายนมแม่แช่แข็ง ซึ่งมีการทำงานที่หลากหลายทั้งอุ่นนม ละลายน้ำแข็ง อุ่นอาหาร และฆ่าเชื้อได้  โดยคุณแม่ควรพิจารณาเลือกซื้อที่มีมาตรฐานความปลอดภัย  สามารถเลือกปรับอุณหภูมิได้ตามความเหมาะสม เพื่อรักษาคุณค่าของนมแม่ไว้ให้ครบถ้วน ข้อควรระวัง เรื่องเข้าใจผิดของการ อุ่นนมแม่ ทำเสียคุณค่าน้ำนม  ข้อมูลเพิ่มเติม :https://www.si.mahidol.ac.th/th/division/HpH/admin/news_files/718_49_1.pdf, FB: สุธีรา เอื้อไพโรจน์กิจ,https://www.phyathai.com/https://library.thaibf.com/ (คลังข้อมูล มูลนิธิศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย)

” ลูกติดเต้า ไม่ยอมใช้ขวดนมเลย ทำอย่างไรดี ? เริ่มให้ลูกหย่านมจากเต้า มาฝึกใช้ขวดนมเมื่อไหร่ดี ? ” อีกคำถามที่แม่ๆหลายคนมักเจอตอนลูกน้อยอายุ 1 ขวบ โดยเฉพาะคุณแม่ที่เลี้ยงลูกน้อยด้วยนมจากเต้าเพียงอย่างเดียว วันนี้ BabyGift มีเคล็ดไม่ลับมาฝากแม่ๆกันค่ะ ต้องขอเกริ่นก่อนว่า ความจริงแล้วการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เป็นสิ่งที่ดีที่สุดอยู่แล้ว ด้วยคุณค่าของน้ำนมความอบอุ่นและอื่นๆ แต่เมื่อลูกรักโตขึ้น หลายคนที่ดูดนมแม่จากเต้าจนติด หรือที่เรียกว่า ” ลูกติดเต้า “  งอแงไม่ยอมกินนมจากขวด เวลาที่คุณแม่ต้องออกไปทำงานหรืออยู่นอกบ้าน การให้นมแม่จากขวดนม หรือการเริ่มหย่านมแม่ มักจะเกิดปัญหาตามมาเพราะลูกไม่ยอมกินนมจากขวด งอแงร้องไห้  จนเกิดปัญหาการกินกับลูกได้ และปัญหาการใช้ชีวิตของคุณแม่เอง ฉะนั้นมาดูกันเลยค่ะว่าจะมีเทคนิคแบบไหน ที่สามารถทำให้ลูกได้ฝึกกินนมจากขวดได้ โดยไม่หักดิบ ไม่ทำให้ลูกร้องไห้งอแง หงุดหงิดเสียใจ คุณแม่เองก็ไม่ต้องเครียดไปด้วย ตามมาดูกันเลยค่ะ 8 ทริค ฝึกลูกดูดนมขวดแบบแฮปปี้ 1 )  ค่อยๆ ฝึก ไม่บังคับลูกเพราะการดูดขวดคือทักษะใหม่ของลูกรักที่เคยแต่ดูดนมแม่จากเต้ามาตลอด จนกลายเป็นว่า ลูกติดเต้า รวมถึงวิธีการดูดนมจากขวดกับการดูดนมจากเต้าก็มีความแตกต่าง  จึงต้องอาศัยเวลาให้ลูกปรับตัวและฝึกฝน รวมถึงลูกรักเองก็ต้องใช้สมาธิในการดูดมากขึ้นในช่วงแรก ฉะนั้นการทำความเข้าใจไม่บังคับ และให้ลูกได้ลองฝึกในสิ่งแวดล้อมที่เงียบและสงบค่อย […]

ว่าที่คุณแม่มือใหม่หลายคนคงจะปวดหัวไม่น้อย ว่าลูกน้อยของเราควรจะหนุน หมอนทารก นอนหรือไม่ แล้ว หมอนหัวทุย จำเป็นไหม กดมือถือหาข้อมูลทีไรก็หาข้อสรุปไม่ได้เสียที ไม่ต้องกังวลไปค่ะ วันนี้เราจะมาไขข้อข้องใจให้หายสงสัยกันค่า หมอนทารก ทารกควรหนุนหรือไม่ คำแนะนำจากกุมารแพทย์ทั่วโลก รวมถึงประเทศไทยกล่าวว่า ท่านอนที่ดีและปลอดภัยสำหรับทารกที่สุดก็คือ การนอนหงายโดยไม่หนุนอะไรทั้งสิ้น เพราะสรีระของกะโหลกศีรษะของทารก ซึ่งจะมีขนาดใหญ่เมื่อเทียบกับลำตัว ทำให้พอดีในการนอนแล้วถึงแม้จะนอนหงาย และนอกจากนี้จะต้องไม่มีสิ่งของอื่นๆ เช่น ผ้าห่ม ตุ๊กตา ของเล่น ฯลฯ อยู่บนเตียงขณะลูกน้อยนอนหลับ เพื่อลดการเกิดอุบัติเหตุจากการนอน หรือโรคไหลตายในทารก (SIDS) ซึ่งเป็นภัยเงียบที่คร่าชีวิตเด็กๆ มากมายทั่วโลก และโรคนี้มักจะเกิดกับเด็กอายุไม่เกิน 4 เดือนมากที่สุด โดยที่เด็กยังแข็งแรงดีอีกด้วย แม้ปัจจุบันจะยังไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด แต่หนึ่งในปัจจัยที่ชัดเจนและกระตุ้นให้เกิดการเสียชีวิตคือการที่มีผ้า วัตถุนุ่มๆ หรือการใช้ที่นอนที่อ่อนยวบเกินไป ไปอุดกั้นทางเดินหายใจของลูก จากการที่ลูกเกิดพลิกตัวนอนคว่ำ หรือคว้าวัตถุเหล่านั้นมาโดยไม่ตั้งใจ ซึ่งเด็กยังเล็กเกินไปที่จะชันคอหรือพลิกตัวกลับได้ ดังนั้นเพื่อความปลอดภัย ทารกจึงยังไม่จำเป็นต้องใช้หมอนหนุนนอนจนกว่าจะเข้าสู่วัยเตาะแตะหรือ 18 เดือนขึ้นไป หรือช้ากว่านั้นได้ยิ่งดีค่ะ กลัวลูกหัวแบน ทำไงดี อีกหนึ่งความกังวลใหญ่ของบรรดาแม่ๆ คือ กลัวลูกหัวแบน เพราะต้องนอนหงายตลอดเวลา ปัจจุบันจึงได้มีการผลิตคิดค้นหมอนหนุนสำหรับทารกเพื่อป้องกันหัวแบน และลูกน้อยยังคงนอนหงายได้ด้วย แต่ทั้งนี้คุณหมอและผู้เชี่ยวชาญก็ยังไม่แนะนำให้ใช้หมอนหนุนมากนัก เพราะหากใช้หมอนที่ไม่ได้มาตรฐาน ไม่มีคุณภาพ […]

Menu
All Categories
All Brands
All Ages
Promotions
Locations
BabyGift Family
BabyGift Care
Parents Guide
News & Event

All Categories

All Categories
All Brands
All Ages